หากวันหนึ่งจากไป อยากเก็บอะไรไว้ให้ลูก อนาคต ความผูกพัน หรือภาระหนี้สิน

Views: 681
0 0
Read Time:2 Minute, 37 Second
บ้าน ที่ดิน คอนโด หุ้น ทองคำ ขายอะไรกำไรสุด เงินกู้ OD ค่างวดบ้าน ดอกเบี้ยรถ เจ้าหนี้การค้า ใครคุยง่ายสุด?

วันที่ต้องใช้เงินด่วนๆ ตัวเลือกมีไม่มากนัก ใช่หรือไม่คะ กำหนดวันชำระทำให้ทุกอย่างกดดัน เครียดไปหมด ทุกสิ้นเดือนที่รายจ่ายเรียงรายกันเข้ามา ถ้าเป็นตอนที่การเงินดี รายได้สะพัด การรับเงินเข้าและการจ่ายออก ดู เป็นเรื่องปรกติ เพราะมีคุณ ทุกอย่างราบรื่นดี ไม่มีปัญหาอะไร คุณเป็นคนๆนั้น ที่ดูแลค่าใช้จ่ายต่างๆ ใช่หรือไม่คะ ใช้ความรู้ความสามารถ พัฒนาทักษะ เพื่อแลกเงินมา กว่าจะเชี่ยวชาญ มีรายได้ขนาดนี้ ใช้เวลานานมั้ยคะ?

แล้วทรัพย์สินที่สะสมมา ยังมีรายการที่ผ่อนชำระหรือไม่ ตอนนี้ปลอดภาระแล้วหรือยังคะ มีค่าใช้จ่ายผูกพัน ยอดหนี้ก้อนใหญ่รอจ่ายอยู่มั้ย การสร้างตัว สร้างฐานะ ทุกอย่างค่อยเป็นค่อยไป ขอเพียงอย่าเจ็บป่วยรุนแรง เพราะการเงินอาจสะดุด และอย่าจากครอบครัวไปตลอดกาล (เสียชีวิต) เพราะ “เงินไม่ใช่ทุกอย่างของชีวิต” แต่ของหลายอย่างที่จำเป็นในชีวิต ต้องใช้เงินซื้อมา เมื่อเวลาขัดสน การเงินไม่คล่องตัว วิธีลดมาตรฐาน ลดคุณภาพของใช้ เพื่อความประหยัด เป็นสิ่งที่ทุกคนสามารถทำได้ค่ะ แต่ถ้าเป็นภาระหนี้สินที่ต้องชดใช้ มีผลทางกฎหมาย จะลดจำนวนหนี้ได้ ต้องนำไปจ่าย หรือขายทรัพย์ทิ้ง

หากเลือกได้ ขายทรัพย์สินเพื่อต่อยอดธุรกิจทำกำไร คือดี แต่การขายทรัพย์สินเพื่อจ่ายชำระหนี้นั้น อาจหมายถึงความเดือดร้อนเรื่องการเงินกระทันหัน บางครั้งยอมขายถูก เพื่อขายออกไวๆ เพราะต้องใช้เงินด่วน หากคุณเป็นคนที่หารายได้หลักเข้าบ้าน รับผิดชอบความเป็นอยู่ ดูแลภาระค่าใช้จ่ายต่างๆ วันหนึ่งที่ขาดคุณไป รายได้ไม่เข้าบ้านอีกแล้ว คนที่คุณเคยดูแลมาทั้งชีวิต พวกเค้าจะเป็นอย่างไร

“หากไม่มีคุณอยู่ตรงที่เดิมอีกแล้ว”

“ปกป้องรายได้ หัวหน้าครอบครัว” คนสำคัญ

อย่าให้ทรัพย์สินทั้งชีวิตที่สร้างมา

หายวับไปกับตาเพราะชะล่าใจ “ภัยสุขภาพ ภัยชีวิต”

ถ่ายโอนความเสี่ยงนี้ให้กับบริษัทประกัน

หรือ โยนความเสี่ยงนี้ให้กับครอบครัว คุณเลือกได้

บริการให้คำปรึกษาแบบประกันอย่างมืออาชีพ
แอดไลน์คุยกันค่ะ https://lin.ee/zu5FUBy (นัท)
ด้วยความปรารถนาดี
ดูแลคุณเหมือนคนในครอบครัว
ป.ล. สิทธิ์ลดหย่อนภาษี (ข้อมูลอัพเดท 14 ต.ค 64)
-ประกันบำนาญสูงสุด 200,000 บาท
-ประกันชีวิตสูงสุด 100,000 บาท
-ประกันสุขภาพสูงสุด 25,000 บาท
รายละเอียดค่าลดหย่อนภาษีปี 2564
โปรดศึกษาเพิ่มเติมตามประกาศกรมสรรพากร

#นักสื่อสารประกันภัย

แนะนำแบบประกันยอดฮิต

ข้อความ

สอบถามข้อมูลแบบประกัน/เช็คค่าเบี้ยประกัน

About Post Author

Wanvanut Voravisitsinchai

ที่ปรึกษาประกันชีวิต MTLP6 (53) บริษัท เมืองไทยประกันชีวิต จำกัด (มหาชน) เลขที่ใบอนุญาต 6301025087

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า
error: Content is protected !!